เรียนโหรากับมหาหมอดู


 
ย้อนกลับ หน้าต่อไป
 


การหาเวลาวางลัคน์และการเรียงยาม
            ตำราเลขเจ็ดตัว เป็นพื้นฐานที่โบราณาจารย์ได้สร้างขึ้นไว้เป็นเบื้องต้นในหลักตำราพยากรณ์ โดยได้มาจากการโคจรของดาวเจ็ดดวงบนท้องฟ้า จับเอาระยะการโคจรของดาว จากช้าที่สุดจนถึงเร็วที่สุดคือ
            ๗ - ดาวเสาร์ (เสาร์)          ๕ - ดาวพฤหัสบดี (ครู)    ๓ - อังคาร (ภุมมะ)
            ๑ - ดวงอาทิตย์ (สุริชะ)     ๖ - ดาวศุกร์ (ศุกระ)        ๔ - ดาวพุธ (พุธะ)
            ๒ - ดาวจันทร์ (จันเทา)
            และกำหนดเอาชื่อดาวทั้งเจ็ดดวงนี้เป็นชื่อวันทั้งเจ็ด คือสัปดาห์หนึ่งโดยถอดเอาตัวกลาง คือ ๑ - อาทิตย์ (สุ ริชะ) ไปอีกทีละสี่ก็จะได้ ๒ - จันทร์ (จันเทา) และนับจากจันทร์ออกไปอีกสี่ ก็จะได้ ๓ - อังคาร (ภุมมะ) นับทำนองนี้เรื่อยไปจนครบทั้งเจ็ดดาว  ก็จะได้ชื่อวันครบทั้งเจ็ดวัน มีชื่อตามที่เรียกว่า อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร์ และเสาร์ ตามลำดับ
            ในหนึ่งวันแบ่งออกเป็นชั่วโมง โดยคิดจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นถึงเวลาที่ดวงอาทิตย์ตก เป็นระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง จากดวงอาทิตย์ตกไปถึงดวงอาทิตย์ขึ้นอีก ๑๒ ชั่วโมง รวมเป็น ๒๔ ชั่วโมง
            ตามวิชาโหราศาสตร์ กำหนดการนับวันโดยถือดวงอาทิตย์เป็นเกณฑ์ คือจากเวลาที่ดวงอาทิตย์ขึ้นไปจนถึงดวงอาทิตย์ขึ้นอีกครั้งหนึ่งเป็นหนึ่งวัน ไม่ได้ใช้เวลา ๒๔ นาฬิกา อย่างที่ใช้กันอยู่เป็นสากล
            ในภาคกลางวัน ๑๒ ชั่วโมง และภาคกลางคืนอีก ๑๒ ชั่งโมง แต่ละภาคแบ่งออกเป็นแปดยาม แต่ละยามจะเท่ากับ หนึ่งชั่วโมงครึ่ง ยามทั้งแปดทั้งภาคกลางวัน และภาคกลางคืน มีชื่อเรียกโดยกำหนดเอาชื่อของวันนั้นเป็นยามแรก แต่เนื่องจากมีแปดยามและมีเจ็ดวัน ดังนั้นในยามสุดท้ายคือยามแปด จึงกลับไปใช้ชื่อยามแรกดังนี้
            ยามกลางวัน วันอาทิตย์
เวลา
๐๖.๐๐ น.
ถึง
๐๗.๐ น.
เป็นยาม
สุวิชะ
(๑)
คือยาม
แรกหรือยามหนึ่ง
เวลา
๐๗.๓๐ น.
ถึง
๐๙.๐๐ น.
เป็นยาม
ศุกระ
(๖)
คือยาม
สอง
เวลา
๐๙.๐๐ น.
ถึง
๑๐.๓๐ น.
เป็นยาม
พุธะ
(๔)
คือยาม
สาม
เวลา
๑๐.๓๐ น.
ถึง
๑๒.๐๐ น.
เป็นยาม
จันเทา
(๒)
คือยาม
สี่
เวลา
๑๒.๐๐ น.
ถึง
๑๓.๓๐ น.
เป็นยาม
เสาร์
(๗)
คือยาม
ห้า
เวลา
๑๓.๓๐ น.
ถึง
๑๕.๐๐ น.
เป็นยาม
ครู
(๕)
คือยาม
หก
เวลา
๑๕.๐๐ น.
ถึง
๑๖.๓๐ น. 
เป็นยาม
ภุมมะ
(๓)
คือยาม
เจ็ด
เวลา
๑๖.๓๐ น. 
ถึง
๑๘.๐๐ น.
เป็นยาม
สุวิชะ
(๑)
คือยาม
แปด

            วันจันทร์
เวลา
๐๖.๐๐ น.
ถึง
๐๗.๐ น.
เป็นยาม
จันเทา
(๒)
คือยาม
แรก หรือยามหนึ่ง
เวลา
๐๗.๓๐ น.
ถึง
๐๙.๐๐ น.
เป็นยาม
 เสาร์ 
(๗)
คือยาม
สอง
เวลา
๐๙.๐๐ น.
ถึง
๑๐.๓๐ น.
เป็นยาม
ครู
(๕)
คือยาม
สาม
เวลา
๑๐.๓๐ น.
ถึง
๑๒.๐๐ น.
เป็นยาม
ภุมมะ
(๓)
คือยาม
สี่
เวลา
๑๒.๐๐ น.
ถึง
๑๓.๓๐ น.
เป็นยาม
สุวิชะ
(๑)
คือยาม
ห้า
เวลา
๑๓.๓๐ น.
ถึง
๑๕.๐๐ น.
เป็นยาม
ศุกระ
(๖)
คือยาม
หก
เวลา
๑๕.๐๐ น.
ถึง
๑๖.๓๐ น.
เป็นยาม
พุธ
(๔)
คือยาม
เจ็ด
เวลา
๑๖.๓๐ น.
ถึง
๑๘.๐๐ น.
เป็นยาม
จันเทา
(๒)
คือยาม
แปด

            วันอังคาร
เวลา
๐๖.๐๐ น.
ถึง
๐๗.๐ น.
เป็นยาม
ภุมมะ
(๓)
คือยาม
แรก หรือยามหนึ่ง
เวลา
๐๗.๓๐ น.
ถึง
๐๙.๐๐ น.
เป็นยาม
สุวิชะ
(๒)
คือยาม
สอง
เวลา
๐๙.๐๐ น.
ถึง
๑๐.๓๐ น.
เป็นยาม
ศุกระ
(๖)
คือยาม
สาม
เวลา
๑๐.๓๐ น.
ถึง
๑๒.๐๐ น.
เป็นยาม
พุธ
(๔)
คือยาม
สี่
เวลา
๑๒.๐๐ น.
ถึง
๑๓.๓๐ น.
เป็นยาม
จันเทา
(๒
คือยาม
ห้า
เวลา
๑๓.๓๐ น.
ถึง
๑๕.๐๐ น.
เป็นยาม
เสาร์
(๗)
คือยาม
หก
เวลา
๑๕.๐๐ น.
ถึง
๑๖.๓๐ น.
เป็นยาม
ครู
(๕)
คือยาม
เจ็ด
เวลา
๑๖.๓๐ น.
ถึง
๑๘.๐๐ น.
เป็นยาม
ภุมมะ
(๓)
คือยาม
แปด

            วันพุธ
เวลา
๐๖.๐๐ น.
ถึง
๐๗.๐ น.
เป็นยาม
พุธ
(๔)
คือยาม
แรกหรือยามหนึ่ง
เวลา
๐๗.๓๐ น.
ถึง
๐๙.๐๐ น.
เป็นยาม
จันเทา
(๒)
คือยาม
สอง
เวลา
๐๙.๐๐ น.
ถึง
๑๐.๓๐ น.
เป็นยาม
เสาร์
(๗)
คือยาม
สาม
เวลา
๑๐.๓๐ น.
ถึง
๑๒.๐๐ น.
เป็นยาม
ครู
(๕)
คือยาม
สี่
เวลา
๑๒.๐๐ น.
ถึง
๑๓.๓๐ น.
เป็นยาม
ภุมมะ
(๓)
คือยาม
ห้า
เวลา
๑๓.๓๐ น.
ถึง
๑๕.๐๐ น.
เป็นยาม
สุวิชะ
(๑)
คือยาม
หก
เวลา
๑๕.๐๐ น.
ถึง
๑๖.๓๐ น.
เป็นยาม
ศุกระ
(๖)
คือยาม
เจ็ด
เวลา
๑๖.๓๐ น.
ถึง
๑๘.๐๐ น.
เป็นยาม
พุธ
(๔)
คือยาม
แปด

            วันพฤหัสบดี
เวลา
๐๖.๐๐ น.
ถึง
๐๗.๐ น.
เป็นยาม
ครู
(๕)
คือยาม
แรกหรือยามหนึ่ง
เวลา
๐๗.๓๐ น.
ถึง
๐๙.๐๐ น.
เป็นยาม
ภุมมะ
(๓)
คือยาม
สอง
เวลา
๐๙.๐๐ น.
ถึง
๑๐.๓๐ น.
เป็นยาม
สุวิชะ
(๑)
คือยาม
สาม
เวลา
๑๐.๓๐ น.
ถึง
๑๒.๐๐ น.
เป็นยาม
ศุกระ
(๖)
คือยาม
สี่
เวลา
๑๒.๐๐ น.
ถึง
๑๓.๓๐ น.
เป็นยาม
พุธ
(๔)
คือยาม
ห้า
เวลา
๑๓.๓๐ น.
ถึง
๑๕.๐๐ น.
เป็นยาม
จันเทา
(๒)
คือยาม
หก
เวลา
๑๕.๐๐ น.
ถึง
๑๖.๓๐ น.
เป็นยาม
เสาร์
(๗)
คือยาม
เจ็ด
เวลา
๑๖.๓๐ น.
ถึง
๑๘.๐๐ น.
เป็นยาม
ครู
(๕)
คือยาม
แปด

            วันศุกร์
เวลา
๐๖.๐๐ น.
ถึง
๐๗.๐ น.
เป็นยาม
ศุกระ
(๖)
คือยาม
แรก หรือยามหนึ่ง
เวลา
๐๗.๓๐ น.
ถึง
๐๙.๐๐ น.
เป็นยาม
พุธ
(๔)
คือยาม
สอง
เวลา
๐๙.๐๐ น.
ถึง
๑๐.๓๐ น.
เป็นยาม
จันเทา
(๒)
คือยาม
สาม
เวลา
๑๐.๓๐ น.
ถึง
๑๒.๐๐ น.
เป็นยาม
สาร์
(๗)
คือยาม
สี่
เวลา
๑๒.๐๐ น.
ถึง
๑๓.๓๐ น.
เป็นยาม
ครู
(๕)
คือยาม
ห้า
เวลา
๑๓.๓๐ น.
ถึง
๑๕.๐๐ น.
เป็นยาม
ภุมมะ
(๓)
คือยาม
หก
เวลา
๑๕.๐๐ น.
ถึง
๑๖.๓๐ น.
เป็นยาม
เสุวิชะ
(๑)
คือยาม
เจ็ด
เวลา
๑๖.๓๐ น.
ถึง
๑๘.๐๐ น.
เป็นยาม
ศุกระ
(๖)
คือยาม
แปด

            วันเสาร์
เวลา
๐๖.๐๐ น.
ถึง
๐๗.๐ น.
เป็นยาม
เสาร์
(๗)
คือยาม
แรก หรือยามหนึ่ง
เวลา
๐๗.๓๐ น.
ถึง
๐๙.๐๐ น.
เป็นยาม
ครู
(๕)
คือยาม
สอง
เวลา
๐๙.๐๐ น.
ถึง
๑๐.๓๐ น.
เป็นยาม
ภุมมะ
(๓)
คือยาม
สาม
เวลา
๑๐.๓๐ น.
ถึง
๑๒.๐๐ น.
เป็นยาม
สุวิชะ
(๑)
คือยาม
สี่
เวลา
๑๒.๐๐ น.
ถึง
๑๓.๓๐ น.
เป็นยาม
ศุกระ
(๖)
คือยาม
ห้า
เวลา
๑๓.๓๐ น.
ถึง
๑๕.๐๐ น.
เป็นยาม
พุธ
(๔)
คือยาม
หก
เวลา
๑๕.๐๐ น.
ถึง
๑๖.๓๐ น.
เป็นยาม
จันเทา
(๒)
คือยาม
เจ็ด
เวลา
๑๖.๓๐ น.
ถึง
๑๘.๐๐ น.
เป็นยาม
เสาร์
(๗)
คือยาม
แปด

            ยามกลางคืน  การนับยามกลางคืน ต้องเปลี่ยนวิธีนับใหม่ ไม่เหมือนยามกลางวัน คือเริ่มต้นด้วย ระวิ (๑) ชีโว (๕) ศะศิ (๒) ภุมโม (๓) โสโร (๗) พุโธ (๔) และระวิ (๑)
            วันอาทิตย์
เวลา
๐๘.๐๐ น.
ถึง
๑๙.๐ น.
เป็นยาม
ระวิ
(๑)
คือยาม
หนึ่ง
เวลา
๑๙.๓๐ น.
ถึง
๒๑.๐๐ น.
เป็นยาม
ชีโว
(๕)
คือยาม
สอง
เวลา
๒๑.๐๐ น.
ถึง
๒๒.๓๐ น.
เป็นยาม
ศะศิ
(๒)
คือยาม
สาม
เวลา
๒๒.๓๐ น.
ถึง
๒๔.๐๐ น.
เป็นยาม
ศุกโร
(๖)
คือยาม
สี่
เวลา
๒๔.๐๐ น.
ถึง
๐๑.๓๐ น.
เป็นยาม
ภุมโม
(๓)
คือยาม
ห้า
เวลา
๐๑.๓๐ น.
ถึง
๐๓.๐๐ น.
เป็นยาม
โสโร
(๗)
คือยาม
หก
เวลา
๐๓.๐๐ น.
ถึง
๐๔.๓๐ น.
เป็นยาม
พุโธ
(๔)
คือยาม
เจ็ด
เวลา
๐๔.๓๐ น.
ถึง
๐๖.๐๐ น.
เป็นยาม
ระวิ
(๑)
คือยาม
แปด

            วันจันทร์  ยามหนึ่งเป็นยาม ศะศิ (๒) ยามสองเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามสามเป็นยาม ภุมโม (๓) ยามสี่เป็นยาม โสโร (๗) ยามห้าเป็นยาม พุโธ (๔) ยามหกเป็นยาม ระวิ (๑) ยามเจ็ดเป็นยาม ชีโว (๕) ยามแปดเป็นยาม ศะศิ (๒)
            วันอังคาร  ยามหนึ่งเป็นยาม ภุมโม (๓) ยามสองเป็นยาม โสโร (๗) ยามสามเป็นยาม พุโธ (๔) ยามสี่เป็นยาม ระวิ (๑) ยามห้าเป็นยาม ชีโว (๕) ยากหกเป็นยาม ศะศิ (๒) ยามเจ็ดเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามแปดเป็นยาม ภุมโม (๓)
            วันพุธ  ยามหนึ่งเป็นยาม พุโธ (๔) ยามสองเป็นยาม ระวิ (๑) ยามสามเป็นยาม ชีโว (๕) ยามสี่เป็นยาม ศะศิ (๒) ยามห้าเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามหกเป็นยาม ภุมโม (๓) ยามเจ็ดเป็นยาม โสโร (๗) ยามแปดเป็นยาม พุโธ (๔)
            วันพฤหัสบดี  ยามหนึ่งเป็นยามชีโว (๕) ยามสองเป็นยาม ศะศิ (๒) ยามสามเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามสี่เป็นยาม ภุมโม (๓) ยามห้าเป็นยาม โสโร (๙) ยามหกเป็นยาม พุโธ (๔) ยามเจ็ดเป็นยาม ระวิ (๑) ยามแปดเป็นยาม ชีโว (๕)
            วันศุกระ  ยามหนึ่งเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามสองเป็นยาม ภุมโม (๓) ยามสามเป็นยาม โสโร (๗) ยามสี่เป็นยาม พุโธ (๔)
ยามห้าเป็นยาม ระวิ (๑) ยามหกเป็นยาม ชีโว (๕) ยามเจ็ดเป็นยาม ศะศิ (๒) ยามแปดเป็นยาม ศุกโร (๖)
            วันเสาร์  ยามหนึ่งเป็นยาม โสโร (๗) ยามสองเป็นยาม พุโธ (พุธ) ยามสามเป็นยาม ระวิ (๑) ยามสี่เป็นยาม ชีโว (๕) ยามห้าเป็นยาม ศะศิ (๒) ยามหกเป็นยาม ศุกโร (๖) ยามเจ็ดเป็นยาม ภุมโม (๓) ยามแปดเป็นยาม โสโร (๗)


การนับยามตามห้วงเวลาในรอบ ๒๔ ชั่วโมง ของแต่ละวัน
เวลา
ยาม
อาทิตย์
จันทร์
อาคาร
พุธ
พฤหัสบดี
ศุกร์
เสาร์
หมายเหตุ
๐๖๐๐ - ๐๗๓๐
ยามกลางวัน
๐๗๐๐ - ๐๙๐๐
ยามกลางวัน
๐๙๐๐ - ๑๐๓๐
ยามกลางวัน
๑๐๓๐ - ๑๒๐๐
ยามกลางวัน
๑๒๐๐ - ๑๓๓๐
ยามกลางวัน
๑๓๓๐ - ๑๕๐๐
ยามกลางวัน
๑๕๐๐ - ๑๖๓๐
ยามกลางวัน
๑๖๓๐ - ๑๘๐๐
ยามกลางวัน
๑๘๐๐ - ๑๙๓๐
ยามกลางคืน
๑๙๓๐ - ๒๑๐๐
ยามกลางคืน
๒๑๐๐ - ๒๒๓๐
ยามกลางคืน
๒๒๓๐ - ๒๔๐๐
ยามกลางคืน
๒๔๐๐ - ๐๑๓๐
ยามกลางคืน
๐๑๓๐ - ๐๓๐๐
ยามกลางคืน
๐๓๐๐ - ๐๔๓๐
ยามกลางคืน
๑๔๓๐ - ๐๖๐๐
ยามกลางคืน


 
ย้อนกลับ บน หน้าต่อไป
 

  ::::